วันจันทร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2566

ดูการเทียบเคียง ๑๑/๑๙๔/๒๑

บทว่า อวิสํวาทโก โลกสฺส ความว่า ไม่พูดลวงโลก เพราะ
ความเป็นผู้พูดคำจริงนั้น.
ในคำว่า ปิสุณํ วาจํ ปหาย เป็นต้น พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้
วาจาที่เป็นเหตุทำตนอาทิผิด อักขระเป็นที่รักในใจของผู้ที่ตนอาทิผิด อักขระพูดด้วย และเป็น
เหตุส่อเสียดผู้อื่น ชื่อว่า ปิสุณาวาจา.
อนึ่ง วาจาที่เป็นเหตุให้กระทำตนเองบ้าง ผู้อื่นบ้าง หยาบคาย ทั้ง
หยาบคายแม้เอง ไม่เสนาะหู ไม่สุขใจ ชื่อว่า ผรุสวาจา.
วาทะที่เป็นเหตุให้บุคคลพูดเพ้อเจ้อ ไร้ประโยชน์ ชื่อว่า สัมผัป-
ปลาป.
แม้เจตนาอันเป็นต้นเหตุแห่งคำพูดเหล่านั้น ก็พลอยได้ชื่อว่าปิสุณา-
วาจา เป็นต้นไปด้วย. ก็ในที่นี้ ประสงค์เอาเจตนานั้นแหละ.
ในบรรดาวาจาทั้ง ๓ อย่างนั้น เจตนาของบุคคลผู้มีจิตเศร้าหมอง
อันให้เกิดกายประโยค และวจีประโยค เพื่อให้คนอื่นแตกกันก็ดี เพื่อ
ต้องการทำตนอาทิผิด อักขระให้เป็นที่รักก็ดี ชื่อว่า ปิสุณาวาจา. ปิสุณาวาจานั้นชื่อว่า
มีคุณน้อย เพราะผู้การทำความแตกแยกมีคุณน้อย ชื่อว่ามีโทษมาก เพราะ
ผู้นั้นมีคุณมาก.

ปิสุณาวาจานั้น มีองค์ ๔ คือ
๑. ภินฺทิตพฺโพ ปโร ผู้อื่นที่พึงให้แตกกัน
๒. เภทปุเรกฺขารตา มุ่งให้เขาแตกกันว่า คนเหล่านี้จักเป็นผู้ต่าง
กัน และแยกกันด้วยอุบายอย่างนี้ หรือ ปิยกมฺยตา ประสงค์ให้ตนเป็น
ที่รักว่า เราจักเป็นที่รัก จักเป็นที่ไว้วางอาทิผิด อาณัติกะใจ ด้วยอุบายอย่างนี้
พระปิฎกธรรม
 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คลิกเมาส์ตราสัญลักษณ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

_____ ____________________