แสวงหายังตระกูลนั้น ๆ. อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า ปิณฺฑปาตี เพราะมีอัน
ตกไป คือเที่ยวไปเพื่อบิณฑะเป็นวัตร. ปิณฺฑปาตี นั่นแหละเป็น
ปิณฑปาติกะ. ผ้าชื่อว่า ปังสุกูละ เพราะเป็นดุจจะเกลือกกลั้วอาทิผิด อาณัติกะ ด้วยฝุ่น
เพราะอรรถว่าฟุ้งขึ้น เหตุตั้งอยู่บนฝุ่น ในที่มีกองหยากเยื่อเป็นต้น.
อีกอย่างหนึ่ง ผ้าชื่อว่า ปังสุกุละ เพราะไป คือถึงความเป็นของน่าเกลียด
ดุจอาทิผิด สระ ฝุ่น. การทรงผ้าบังสุกุล ชื่อว่า ปังสุกุละ. การทรงผ้าบังสุกุลนั้น
เป็นปกติของภิกษุนั้น เหตุนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า ปังสุกูลิกะ. จีวร ๓ ผืน
คือ สังฆาฏิ อุตราสงค์และอันตรวาสก ชื่อว่า ไตรจีวร. การทรงผ้า
ไตรจีวร ชื่อว่า ติจีวระ. การทรงผ้าไตรจีวรนั้น เป็นปกติของภิกษุนั้น
เหตุนั้น ภิกษุนั้น ชื่อว่า เตจีวริกะ. อรรถแห่งบทว่า อปฺปิจฺโฉ เป็นต้น
ข้าพเจ้าได้กล่าวไว้แล้วในหนหลังแล.
บุคคลผู้กำจัดกิเลสท่านเรียกว่า ธุตะ ในบทว่า ธุตวาโท. อีกอย่าง
หนึ่ง ธรรมเครื่องกำจัดกิเลส ท่านก็เรียกว่า ธุตะ. ในสองอย่างนั้น
ภิกษุชื่อว่ามีธุตะ แต่ไม่มีธุตวาทก็มี ไม่มีธุตะ แต่มีธุตวาทก็มี ไม่มีทั้ง
ธุตะ ไม่มีทั้งธุตวาทก็มี มีทั้งธุตะ มีทั้งธุตวาทก็มี พึงทราบหมวด ๔
แห่งธุตะดังว่ามานี้. ใน ๔ อย่างนั้น ภิกษุใดสมาทานประพฤติธุตธรรม
ด้วยตนเอง ไม่ชักชวนผู้อื่น เพราะการประพฤติสมาทานธุตธรรมนั้น
นี้เป็นธุตะหมวดที่ ๑. ส่วนภิกษุใดไม่ประพฤติสมาทานธุตธรรมด้วยตน
เอง แต่ชักชวนผู้อื่น นี้ชื่อว่าเป็นธุตธรรมที่ ๒. ภิกษุใดเว้นทั้งสอง นี้
เป็นธุตะที่ ๓. ส่วนภิกษุใดสมบูรณ์ด้วยธุตะทั้ง ๒ นี้ชื่อว่าเป็นธุตะที่ ๔.
ก็ท่านปิณโฑลภารทวาชะก็เป็นผู้เช่นนั้น. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
ธุตวาทะ. ก็นี้เป็นนิเทศว่าด้วยสมาสที่ท่านย่อศัพท์หนึ่งเหลือไว้ศัพท์หนึ่ง
ตกไป คือเที่ยวไปเพื่อบิณฑะเป็นวัตร. ปิณฺฑปาตี นั่นแหละเป็น
ปิณฑปาติกะ. ผ้าชื่อว่า ปังสุกูละ เพราะเป็นดุจจะ
เพราะอรรถว่าฟุ้งขึ้น เหตุตั้งอยู่บนฝุ่น ในที่มีกองหยากเยื่อเป็นต้น.
อีกอย่างหนึ่ง ผ้าชื่อว่า ปังสุกุละ เพราะไป คือถึงความเป็นของน่าเกลียด
เป็นปกติของภิกษุนั้น เหตุนั้น ภิกษุนั้นชื่อว่า ปังสุกูลิกะ. จีวร ๓ ผืน
คือ สังฆาฏิ อุตราสงค์และอันตรวาสก ชื่อว่า ไตรจีวร. การทรงผ้า
ไตรจีวร ชื่อว่า ติจีวระ. การทรงผ้าไตรจีวรนั้น เป็นปกติของภิกษุนั้น
เหตุนั้น ภิกษุนั้น ชื่อว่า เตจีวริกะ. อรรถแห่งบทว่า อปฺปิจฺโฉ เป็นต้น
ข้าพเจ้าได้กล่าวไว้แล้วในหนหลังแล.
บุคคลผู้กำจัดกิเลสท่านเรียกว่า ธุตะ ในบทว่า ธุตวาโท. อีกอย่าง
หนึ่ง ธรรมเครื่องกำจัดกิเลส ท่านก็เรียกว่า ธุตะ. ในสองอย่างนั้น
ภิกษุชื่อว่ามีธุตะ แต่ไม่มีธุตวาทก็มี ไม่มีธุตะ แต่มีธุตวาทก็มี ไม่มีทั้ง
ธุตะ ไม่มีทั้งธุตวาทก็มี มีทั้งธุตะ มีทั้งธุตวาทก็มี พึงทราบหมวด ๔
แห่งธุตะดังว่ามานี้. ใน ๔ อย่างนั้น ภิกษุใดสมาทานประพฤติธุตธรรม
ด้วยตนเอง ไม่ชักชวนผู้อื่น เพราะการประพฤติสมาทานธุตธรรมนั้น
นี้เป็นธุตะหมวดที่ ๑. ส่วนภิกษุใดไม่ประพฤติสมาทานธุตธรรมด้วยตน
เอง แต่ชักชวนผู้อื่น นี้ชื่อว่าเป็นธุตธรรมที่ ๒. ภิกษุใดเว้นทั้งสอง นี้
เป็นธุตะที่ ๓. ส่วนภิกษุใดสมบูรณ์ด้วยธุตะทั้ง ๒ นี้ชื่อว่าเป็นธุตะที่ ๔.
ก็ท่านปิณโฑลภารทวาชะก็เป็นผู้เช่นนั้น. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
ธุตวาทะ. ก็นี้เป็นนิเทศว่าด้วยสมาสที่ท่านย่อศัพท์หนึ่งเหลือไว้ศัพท์หนึ่ง
พระปิฎกธรรม
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
_____ ____________________