อันหาปัจจัยมิได้ให้ประจักษ์. บทว่า ตเทว นามํ จกฺขุํ ภวิสฺสติ
ได้แก่ จักษุนั่นเอง คือปสาทจักษุ จักแตกต่างกันไปก็หามิได้.
บทว่า เต รูปา ได้แก่รูปารมณ์นั้นเอง จักมาสู่คลอง (ปสาทจักษุ).
บทว่า ตญฺจายตนํ โน ปฏิสํเวทิสฺสติ ได้แก่ บุคคลผู้ไม่มีสัญญา
จักไม่รู้รูปายตนนั้น. แม้ในบทที่เหลือก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
บทว่า อุทายี ได้แก่พระกาฬุทายิเถระ. บทว่า สญฺญเมว นุ โข
ได้แก่ เป็นผู้มีจิตหรืออาทิผิด สระ หนอ. ม อักษรเป็นเพียงบทสนธิ. บทว่า
กึ สญฺญี ได้แก่ เป็นผู้มีสัญญาด้วยสัญญาชนิดไหนอาทิผิด สระ บทว่า สพฺพโส
รูปสญฺญานํ เพราะล่วงรูปสัญญาโดยประการทั้งปวง ความว่า
ถามว่าเพราะอาทิผิด สระ เหตุไร พระอานนท์จึงถือเอารูปอาทิผิด สัญญา นี้ การเสวย
อารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น ย่อมมีแก่ท่านผู้พร้อมเพรียงด้วย
ปฐมฌานเป็นต้นหรือ. ตอบว่า ไม่มี ก็กสิณรูปยังเป็นอารมณ์อยู่
เพียงใด รูปชื่อว่า ยังไม่ล่วงไปอยู่เพียงนั้น รูปนั้นจักอาจเพื่อเป็น
ปัจจัย เพราะยังไม่ล่วงไป แต่ก็รูปนั้น เพราะยังไม่ล่วงไปจึงชื่อว่า
ไม่มี พระอานนท์ถือเอาคำนี้นั่นแลเพื่อแสดงว่า เพราะรูปไม่มี
จึงไม่อาจเป็นปัจจัยได้.
บทว่า ชฏิลคาหิยา ได้แก่ ภิกษุณีผู้อยู่ในเมืองชฏิลคหะ.
ในบทว่า น จาภิณโต เป็นต้น พึงทราบเนื้อความต่อไปนี้ สมาธิ
ชื่อว่า ข่มห้ามด้วยการชักชวนไม่ได้ เพราะไม่น้อมไปด้วยอำนาจ
ของราคะ ไม่นำออกไปด้วยอำนาจของโทสะ ข่มห้ามกิเลสทั้งหลาย
แล้วตั้งอยู่ด้วยการชักชวน ด้วยการประกอบไม่ได้ แต่เกิดขึ้นได้
ในเมื่อตัดกิเลสได้แล้ว. บทว่า วิมุตฺตตฺตา ฐิโต ได้แก่ชื่อว่าตั้ง
ได้แก่ จักษุนั่นเอง คือปสาทจักษุ จักแตกต่างกันไปก็หามิได้.
บทว่า เต รูปา ได้แก่รูปารมณ์นั้นเอง จักมาสู่คลอง (ปสาทจักษุ).
บทว่า ตญฺจายตนํ โน ปฏิสํเวทิสฺสติ ได้แก่ บุคคลผู้ไม่มีสัญญา
จักไม่รู้รูปายตนนั้น. แม้ในบทที่เหลือก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
บทว่า อุทายี ได้แก่พระกาฬุทายิเถระ. บทว่า สญฺญเมว นุ โข
ได้แก่ เป็นผู้มีจิต
กึ สญฺญี ได้แก่ เป็นผู้มีสัญญาด้วยสัญญาชนิด
รูปสญฺญานํ เพราะล่วงรูปสัญญาโดยประการทั้งปวง ความว่า
ถามว่า
อารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น ย่อมมีแก่ท่านผู้พร้อมเพรียงด้วย
ปฐมฌานเป็นต้นหรือ. ตอบว่า ไม่มี ก็กสิณรูปยังเป็นอารมณ์อยู่
เพียงใด รูปชื่อว่า ยังไม่ล่วงไปอยู่เพียงนั้น รูปนั้นจักอาจเพื่อเป็น
ปัจจัย เพราะยังไม่ล่วงไป แต่ก็รูปนั้น เพราะยังไม่ล่วงไปจึงชื่อว่า
ไม่มี พระอานนท์ถือเอาคำนี้นั่นแลเพื่อแสดงว่า เพราะรูปไม่มี
จึงไม่อาจเป็นปัจจัยได้.
บทว่า ชฏิลคาหิยา ได้แก่ ภิกษุณีผู้อยู่ในเมืองชฏิลคหะ.
ในบทว่า น จาภิณโต เป็นต้น พึงทราบเนื้อความต่อไปนี้ สมาธิ
ชื่อว่า ข่มห้ามด้วยการชักชวนไม่ได้ เพราะไม่น้อมไปด้วยอำนาจ
ของราคะ ไม่นำออกไปด้วยอำนาจของโทสะ ข่มห้ามกิเลสทั้งหลาย
แล้วตั้งอยู่ด้วยการชักชวน ด้วยการประกอบไม่ได้ แต่เกิดขึ้นได้
ในเมื่อตัดกิเลสได้แล้ว. บทว่า วิมุตฺตตฺตา ฐิโต ได้แก่ชื่อว่าตั้ง
พระปิฎกธรรม
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
_____ ____________________