พาลฺยํ แปลว่า ซึ่งความเป็นผู้อ่อนกำลัง. บทว่า ขีณเมโธ ความว่า บุรุษ
ผู้สิ้นปัญญา ด้วยอำนาจความยินดีด้วยกิเลสบ่อย ๆ ย่อมถึงความเป็นโรคไอ
เป็นต้น. บทว่า นาติเวลํ ความว่า ดูก่อนพ่อและแม่ทั้งหลาย เสวก ไม่พึง
พูดมากเกินประมาณ ในสำนักของพระราชาทั้งหลาย. บทว่า ปตฺเต กาเล
ความว่า เมื่อถึงเวลาที่ตนจะต้องพูด. บทว่า อสํฆฏฺโฏ แปลว่า ไม่พูด
กระทบกระทั่งบุคคลอื่น. บทว่า สมฺผํ แปลว่า คำไร้ประโยชน์. บทว่า
คิรํ แปลว่า ถ้อยคำ.
ราชเสวกพึงเลี้ยงดูมารดาบิดา พึงประพฤติอ่อน
น้อมต่อผู้อาทิผิด เจริญ ที่สุดในตระกูล สมบูรณ์ด้วยหิริโอต-
ตัปปะ ราชเสวกนั้นควรอยู่ในราชสำนักได้ ราชเสวก
พึงเป็นผู้ได้รับแนะนำดีแล้ว มีศิลปฝึกตนแล้ว เป็นผู้
ทำประโยชน์ เป็นผู้คงที่ อ่อนโยน ไม่ประมาท
สะอาดหมดจด เป็นคนขยัน ราชเสวกนั้น ควรอยู่ใน
ราชสำนักได้ ราชเสวกพึงเป็นผู้มีความประพฤติอ่อน
น้อม มีความเคารพยำเกรงในท่านผู้เจริญ เป็นผู้สงบ
เสงี่ยม มีการอยู่ร่วมเป็นสุข ราชเสวกนั้นควรอยู่ใน
ราชสำนักได้ ราชเสวกพึงเว้นให้ห่างไกล ซึ่งทูตที่
ส่งมาเกี่ยวด้วยความลับ พึงดูแลแต่เจ้านายของตนไม่
ควรพูด (เรื่องลับ) ในสำนักของพระราชาอื่น.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วินีโต ได้แก่ ผู้สมบูรณ์ด้วยมารยาท.
บทว่า สิปฺปวา ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยศิลปะที่จะพึงศึกษาในตระกูลของ
ตน. บทว่า ทนฺโต ได้แก่ ผู้หมดพยศในทวารทั้ง ๖. บทว่า กตตฺโต
ได้แก่ ผู้มีตนถึงพร้อมแล้ว (ทั้งวิทยาและจริยาสมบัติ). บทว่า นิยโต ได้แก่
ผู้สิ้นปัญญา ด้วยอำนาจความยินดีด้วยกิเลสบ่อย ๆ ย่อมถึงความเป็นโรคไอ
เป็นต้น. บทว่า นาติเวลํ ความว่า ดูก่อนพ่อและแม่ทั้งหลาย เสวก ไม่พึง
พูดมากเกินประมาณ ในสำนักของพระราชาทั้งหลาย. บทว่า ปตฺเต กาเล
ความว่า เมื่อถึงเวลาที่ตนจะต้องพูด. บทว่า อสํฆฏฺโฏ แปลว่า ไม่พูด
กระทบกระทั่งบุคคลอื่น. บทว่า สมฺผํ แปลว่า คำไร้ประโยชน์. บทว่า
คิรํ แปลว่า ถ้อยคำ.
ราชเสวกพึงเลี้ยงดูมารดาบิดา พึงประพฤติอ่อน
น้อมต่อ
ตัปปะ ราชเสวกนั้นควรอยู่ในราชสำนักได้ ราชเสวก
พึงเป็นผู้ได้รับแนะนำดีแล้ว มีศิลปฝึกตนแล้ว เป็นผู้
ทำประโยชน์ เป็นผู้คงที่ อ่อนโยน ไม่ประมาท
สะอาดหมดจด เป็นคนขยัน ราชเสวกนั้น ควรอยู่ใน
ราชสำนักได้ ราชเสวกพึงเป็นผู้มีความประพฤติอ่อน
น้อม มีความเคารพยำเกรงในท่านผู้เจริญ เป็นผู้สงบ
เสงี่ยม มีการอยู่ร่วมเป็นสุข ราชเสวกนั้นควรอยู่ใน
ราชสำนักได้ ราชเสวกพึงเว้นให้ห่างไกล ซึ่งทูตที่
ส่งมาเกี่ยวด้วยความลับ พึงดูแลแต่เจ้านายของตนไม่
ควรพูด (เรื่องลับ) ในสำนักของพระราชาอื่น.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วินีโต ได้แก่ ผู้สมบูรณ์ด้วยมารยาท.
บทว่า สิปฺปวา ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยศิลปะที่จะพึงศึกษาในตระกูลของ
ตน. บทว่า ทนฺโต ได้แก่ ผู้หมดพยศในทวารทั้ง ๖. บทว่า กตตฺโต
ได้แก่ ผู้มีตนถึงพร้อมแล้ว (ทั้งวิทยาและจริยาสมบัติ). บทว่า นิยโต ได้แก่
พระปิฎกธรรม
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
_____ ____________________