วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ดูการเทียบเคียง ๘๗/๔๐๐/๗

[๑๔๓๒] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติอาทิผิด อักขระธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๔๓๓] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคกระทำอาทิผิด มรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว พิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำ
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระปิฎกธรรม
 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คลิกเมาส์ตราสัญลักษณ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

_____ ____________________