บทว่า ฉวาลาตํ ได้แก่ ดุ้นฟืน ในที่ที่เผาศพ. บทว่า อุภโต
ปทิตฺตํ มชฺเฌ คูลคตํ ความว่า ดุ้นฟืนยาวประมาณ ๘ นิ้ว ไฟติดทั้ง
๒ ข้าง ตรงกลางก็เปื้อนคูถ. บทว่า เนว คาเม ความว่า จริงอยู่ ถ้าหาก
ดุ้นฟืนนั้น เป็นของที่ใคร ๆ (นึกว่า) สามารถนำเข้าไปใช้เพื่อประโยชน์แก่
แอกไถ ไม้จันทันและไม้ฝ้าได้ไซร้ ก็ต้องผ่าเพื่อเป็นฟืนใช้ในบ้าน ถ้าเป็น
ของที่ใคร ๆ (นึกว่า) สามารถนำเข้าไปใช้เพื่อประโยชน์แก่ไม้อาทิผิด อาณัติกะ ปู พื้น และเตียง
เป็นต้นที่กระท่อมนาได้ไซร้ ก็ต้องผ่าเพื่อใช้เป็นฟืนในป่า. แต่เพราะเหตุที่
แม้ประโยชน์ทั้ง ๒ อย่างนั้น ใคร ๆ ไม่อาจ (นำมาใช้ได้) ฉะนั้นพระผู้มี-
พระภาคเจ้า จึงตรัสไว้อย่างนี้.
บทว่า ตถูปมาหํ ความว่า เราตถาคตเรียกบุคคลตามที่กล่าวมาแล้ว
นี้ว่า อุปมาเหมือนอย่างนั้น คือ เช่นฟืนเผาศพ. บทว่า คิหิโภคา จ
ปริหีโน ความว่า เป็นผู้เสื่อมจากโภคะที่จะต้องได้เมื่อคฤหัสถ์ทั้งหลายผู้
ครองเรือนอยู่ แบ่งมรดกอยู่ และโดยประการอื่นด้วย. บทว่า สามญฺตฺถญฺจ
ความว่า จะไม่ยังสามัญผลที่สัทธิวิหาริกเเละอันเตวาสิก ดำรงอยู่ในโอวาทของ
อุปัชฌาย์และอาจารย์ทั้งหลายแล้ว จะพึงถึงด้วยสามารถแห่งปริยัติและปฏิเวธ
ให้บริบูรณ์.
อนึ่ง พึงทราบว่า พระศาสดาไม่ได้ทรงนำอุปมานี้มา ด้วยสามารถ
แห่งบุคคลผู้ทุศีล แต่ทรงนำมาด้วยสามารถแห่งบุคคลผู้มีศีลบริสุทธิ์ ผู้ไม่
เกียจคร้าน ผู้มีจิตถูกโทษทั้งหลาย มีอภิชฌาเป็นต้น ประทุษร้ายแล้ว.
พึงทราบวินิจฉัยในคาถาทั้งหลาย ดังต่อไปนี้ บทว่า คิหิโภคา
ความว่า จากเครื่องอุปโภคที่ให้เกิดกามสุข. บทว่า ปริหีโน ได้แก่ เสื่อม
ปทิตฺตํ มชฺเฌ คูลคตํ ความว่า ดุ้นฟืนยาวประมาณ ๘ นิ้ว ไฟติดทั้ง
๒ ข้าง ตรงกลางก็เปื้อนคูถ. บทว่า เนว คาเม ความว่า จริงอยู่ ถ้าหาก
ดุ้นฟืนนั้น เป็นของที่ใคร ๆ (นึกว่า) สามารถนำเข้าไปใช้เพื่อประโยชน์แก่
แอกไถ ไม้จันทันและไม้ฝ้าได้ไซร้ ก็ต้องผ่าเพื่อเป็นฟืนใช้ในบ้าน ถ้าเป็น
ของที่ใคร ๆ (นึกว่า) สามารถนำเข้าไปใช้เพื่อประโยชน์แก่
เป็นต้นที่กระท่อมนาได้ไซร้ ก็ต้องผ่าเพื่อใช้เป็นฟืนในป่า. แต่เพราะเหตุที่
แม้ประโยชน์ทั้ง ๒ อย่างนั้น ใคร ๆ ไม่อาจ (นำมาใช้ได้) ฉะนั้นพระผู้มี-
พระภาคเจ้า จึงตรัสไว้อย่างนี้.
บทว่า ตถูปมาหํ ความว่า เราตถาคตเรียกบุคคลตามที่กล่าวมาแล้ว
นี้ว่า อุปมาเหมือนอย่างนั้น คือ เช่นฟืนเผาศพ. บทว่า คิหิโภคา จ
ปริหีโน ความว่า เป็นผู้เสื่อมจากโภคะที่จะต้องได้เมื่อคฤหัสถ์ทั้งหลายผู้
ครองเรือนอยู่ แบ่งมรดกอยู่ และโดยประการอื่นด้วย. บทว่า สามญฺตฺถญฺจ
ความว่า จะไม่ยังสามัญผลที่สัทธิวิหาริกเเละอันเตวาสิก ดำรงอยู่ในโอวาทของ
อุปัชฌาย์และอาจารย์ทั้งหลายแล้ว จะพึงถึงด้วยสามารถแห่งปริยัติและปฏิเวธ
ให้บริบูรณ์.
อนึ่ง พึงทราบว่า พระศาสดาไม่ได้ทรงนำอุปมานี้มา ด้วยสามารถ
แห่งบุคคลผู้ทุศีล แต่ทรงนำมาด้วยสามารถแห่งบุคคลผู้มีศีลบริสุทธิ์ ผู้ไม่
เกียจคร้าน ผู้มีจิตถูกโทษทั้งหลาย มีอภิชฌาเป็นต้น ประทุษร้ายแล้ว.
พึงทราบวินิจฉัยในคาถาทั้งหลาย ดังต่อไปนี้ บทว่า คิหิโภคา
ความว่า จากเครื่องอุปโภคที่ให้เกิดกามสุข. บทว่า ปริหีโน ได้แก่ เสื่อม
พระปิฎกธรรม
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
_____ ____________________