พระอุบาลีเถระจึงกล่าวว่า เมื่อกาลเที่ยงวันล่วงไปแล้ว จนถึงอรุณขึ้น ชื่อว่า
วิกาล แม้เวลาเที่ยงตรงก็ถึงการสงเคราะห์เข้าเป็นกาล. จำเดิมแต่เวลาเที่ยง
ตรงไป ภิกษุไม่อาจเพื่อจะเคี้ยวหรือฉันได้ (แต่) ยังอาจเพื่อจะรีบดื่มได้,
ส่วนภิกษุผู้มีความรังเกียจไม่พึงทำ. และเพื่อรู้กำหนดกาลเวลา ควรปักเสา
เครื่องหมายกาลเวลาไว้. อนึ่ง พึงทำภัตกิจภายในกาล.
ในคำว่า อวเสสํ ขาทนียํ นาม นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- ใน
อาหารวัตถุมีขนมต้มเป็นต้น ๑ ทำสำเร็จมาแต่บุพพัณชาติ และอปรัณชาติมีคำ
ที่ควรจะกล่าวก่อนอย่างนั้น:-
วัตถุแม้ใด มีชนิดเช่นใบและรากเหง้าเป็นต้น เป็นของมี คติอาทิผิด อักขระ อย่างอามิส,
นี้ คืออย่างไร ? คือ วัตถุแม้น เป็นต้นว่า รากควรเคี้ยว หัวควรเคี้ยว
เหง้าควรเคี้ยว ยอดควรเคี้ยว ลำต้นควรเคี้ยว เปลือกควรเคี้ยว ใบควรเคี้ยว
ดอกควรเคี้ยว ผลควรเคี้ยว เมล็ดควรเคี้ยว แป้งควรเคี้ยว ยางเหนียวควร
เคี้ยว ย่อมถึงการสงเคราะห์เข้าในขาทนียะ (ของควรเคี้ยว) ทั้งนั้น. ก็ใน
มูลขาทนียะเป็นต้นนั้น เพื่อกำหนดรู้ของควรเคี้ยวมีคติอย่างอามิส มีของควร
เคี้ยว ซึ่งจะชี้ให้เห็นพอเป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้:-
[อธิบายของควรเคี้ยวที่จัดเป็นกาลิกต่าง ๆ]
พึงทราบวินิจฉัยในมูลขาทนียะก่อน :- ใบและรากที่ควรเป็นสูปะ
(กับข้าว) ได้ มีอาทิอย่างนั้น คือ มูลกมูล วารกมูล ปุจจุมูลตัมพกมูล
๑ อัตถโยชนา ๒/๗๐ สกฺขลิโมทโกติ วฏฺฏโมทโก. ชาวอินเดียเรียกขนมชนิดนี้ว่า ลัฑฑู นัยว่า ทำจากแป้งเป็นก้อนกลม ๆ ข้างในใส่ไส้แล้วทอดด้วยน้ำมันพืชลักษณะใกล้กับขนมต้มของไทย จึงได้แปลไว้อย่างนั้น. - ผู้ชำระ.
วิกาล แม้เวลาเที่ยงตรงก็ถึงการสงเคราะห์เข้าเป็นกาล. จำเดิมแต่เวลาเที่ยง
ตรงไป ภิกษุไม่อาจเพื่อจะเคี้ยวหรือฉันได้ (แต่) ยังอาจเพื่อจะรีบดื่มได้,
ส่วนภิกษุผู้มีความรังเกียจไม่พึงทำ. และเพื่อรู้กำหนดกาลเวลา ควรปักเสา
เครื่องหมายกาลเวลาไว้. อนึ่ง พึงทำภัตกิจภายในกาล.
ในคำว่า อวเสสํ ขาทนียํ นาม นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- ใน
อาหารวัตถุมีขนมต้มเป็นต้น ๑ ทำสำเร็จมาแต่บุพพัณชาติ และอปรัณชาติมีคำ
ที่ควรจะกล่าวก่อนอย่างนั้น:-
วัตถุแม้ใด มีชนิดเช่นใบและรากเหง้าเป็นต้น เป็นของ
นี้ คืออย่างไร ? คือ วัตถุแม้น เป็นต้นว่า รากควรเคี้ยว หัวควรเคี้ยว
เหง้าควรเคี้ยว ยอดควรเคี้ยว ลำต้นควรเคี้ยว เปลือกควรเคี้ยว ใบควรเคี้ยว
ดอกควรเคี้ยว ผลควรเคี้ยว เมล็ดควรเคี้ยว แป้งควรเคี้ยว ยางเหนียวควร
เคี้ยว ย่อมถึงการสงเคราะห์เข้าในขาทนียะ (ของควรเคี้ยว) ทั้งนั้น. ก็ใน
มูลขาทนียะเป็นต้นนั้น เพื่อกำหนดรู้ของควรเคี้ยวมีคติอย่างอามิส มีของควร
เคี้ยว ซึ่งจะชี้ให้เห็นพอเป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้:-
[อธิบายของควรเคี้ยวที่จัดเป็นกาลิกต่าง ๆ]
พึงทราบวินิจฉัยในมูลขาทนียะก่อน :- ใบและรากที่ควรเป็นสูปะ
(กับข้าว) ได้ มีอาทิอย่างนั้น คือ มูลกมูล วารกมูล ปุจจุมูลตัมพกมูล
๑ อัตถโยชนา ๒/๗๐ สกฺขลิโมทโกติ วฏฺฏโมทโก. ชาวอินเดียเรียกขนมชนิดนี้ว่า ลัฑฑู นัยว่า ทำจากแป้งเป็นก้อนกลม ๆ ข้างในใส่ไส้แล้วทอดด้วยน้ำมันพืชลักษณะใกล้กับขนมต้มของไทย จึงได้แปลไว้อย่างนั้น. - ผู้ชำระ.
พระปิฎกธรรม
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
_____ ____________________